ปริมาณโปรตีนที่เหมาะสมในแต่ละวันขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น อายุ กิจกรรมในชีวิตประจำวัน และเป้าหมายในการออกกำลังกาย
โปรตีนดูดซึมเข้าร่างกายได้อย่างไร?
ความหมายของการแพ้อาหาร คือ อาการเจ็บป่วยที่เกิดจากปฏิกริยาของภูมิคุ้มกันในร่างกายที่ตอบสนองต่อสารอาหารที่ผู้ป่วยรับประทานเข้าไป
ถั่วต่างๆ เช่น ถั่วพินโต ถั่วดำ เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ถั่วเลนทิล ถั่วแยก ถั่วชิกพี
ตัวอย่างอาหาร ซึ่งมีโปรตีนอยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีดังนี้
โปรตีนเป็นสารอาหารหลักที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อให้ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายทำงานได้อย่างถูกต้องตามหน้าที่ โปรตีนมีบทบาทสำคัญในการสร้างและซ่อมแซมเซลล์ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สร้างเอนไซม์และฮอร์โมน สร้างกล้ามเนื้อ และให้พลังงาน หากร่างกายได้รับโปรตีนไม่เพียงพอ ร่างกายอาจสูญเสียกล้ามเนื้อ ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ และฟื้นตัวจากอาการบาดเจ็บได้ช้า
เมื่อร่างกายมีโปรตีนสะสมมากเกินไป อาจเกิดภาวะต่างๆ ดังต่อไปนี้ได้
เป็นเครื่องมือง่าย ๆ สำหรับคำนวณความต้องการโปรตีนรายวันตามน้ำหนัก อายุ และระดับกิจกรรม สามารถเข้าผ่าน
รู้จัก ไตรกลีเซอไรด์ ไขมันที่ต้องใส่ใจเพื่อสุขภาพที่ดี
โปรตีนถือเป็นสารอาหารที่ขาดไม่ได้เลยในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นโปรตีนจากสัตว์ เช่น เนื้อวัว หมู ไก่ ไข่ไก่ หรือโปรตีนจากพืช โปรตีน เช่น ถั่วและธัญพืช ต่างก็ให้คุณประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอทั้งสิ้น
สูญเสียมวลกล้ามเนื้อ การขาดโปรตีนอาจทำให้สูญเสียมวลกล้ามเนื้อซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว ส่งผลให้ร่างกายเสียสมดุล การทำงานของระบบต่าง ๆ ผิดปกติ เช่น ระบบเผาผลาญช้าลง
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบต่างๆ ในร่างกายนี้ ทุกคนสามารถป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้ด้วยการหมั่นตรวจเช็คสุขภาพขั้นพื้นฐานเป็นประจำ เช่น การตรวจเลือดเพื่อดูระดับไขมันและน้ำตาลในเลือด การตรวจวัดระดับความดันโลหิต การตรวจปัสสาวะ
โปรตีนช่วยเสริมสร้างและทำหน้าที่ในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่างๆ ที่สึกหรอภายในร่างกาย โดยเมื่อทานอาหารที่มีโปรตีน โปรตีนก็จะถูกย่อยจนได้กรดอะมิโนออกมา และถูกดูดซึมไปใช้เพื่อสังเคราะห์เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างภายในร่างกายต่อไป
ความต้องการกรดอะมิโนของคนในวัยต่างๆ ( มก./กก./วัน )